พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหล่อโลหะพุทธศักราช ๒๕๐๘ อัฐ การแปล - พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหล่อโลหะพุทธศักราช ๒๕๐๘ อัฐ ไทย วิธีการพูด

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหล่อโลหะ
พุทธศักราช ๒๕๐๘ อัฐเชิญพระบรมรูปหล่อโลหะรัชกาลที่ ๔ ขึ้นประดิษฐาน ณ ซุ้มปรางค์ บนทักษิณชั้นที่ ๒ ของพระเจดีย์ใหญ่ด้านทิศตะวันออก พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ วัดบวรนิเวศได้ดำเนินการให้กรมศิลปากรจำลองจากพระบรมรูปองค์เดิม ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ตำหนักเพ็ชร ด้วยทุนบริจาคของ หม่อมเจ้า จงจิตรถนอม ดิศกุล นับเป็นพระบรมรูปจำลององค์ที่ ๒

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า องค์ต้นแบบซึ่งประดิษฐาน ณ ตำหนักเพ็ชรนี้ เป็นพระบรมรูปที่มีความสำคัญมากเพราะเหตุว่าเป็นพระบรมรูปของพระมหากษัตริย์ไทยรูปแรกที่สร้างขึ้นในขณะที่พระองค์ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ และยังเป็นต้นแบบของพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดร โดย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ อธิบดีกรมช่างสิบหมู่ ทรงเป็นผู้อำนวยการปั้นและหล่อ ในพุทธศักราช ๒๔๑๔

ประวัติความเป็นของพระบรมรูปซึ่งประดิษฐาน ณ ตำหนักเพ็ชร เนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์จะให้หล่อพระบรมรูปไปตอบถวายพระเจ้านโปเลียนที่ ๓ แห่งประเทศฝรั่งเศส เวลานั้นยังไม่มีช่างไทยที่มีฝีมือถึงขนาด จึงพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์ออกไปให้ช่างฝรั่งหล่อพระบรมรูปขึ้น ช่างผู้นี้คือ เอมิล ฟรังซัว ชาตรูส (Emile Francois Chatrousse) ประติมากรชาวฝรั่งเศส ลูกศิษย์ของ ฟรังซัว รูด(Francois Rude) และดาเบล เดอ ปูจอล (d’Abel de Pujol) ศิลปินได้จำลองหุ่นพระบรมรูปด้วยปูนปลาสเตอร์สูงตลอดพระองค์รวมฐานด้วย ๕๙ เซนติเมตร ทาบรอนซ์ฉลองพระองค์เปิดพระอุระ ทรงพระภูษาโจง และทรงพระมาลาสก็อต เหมือนพระบรมฉายาลักษณ์ที่ฉายด้วยกันกับสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๔ พระบรมรูปทรงยืนในท่าตริภังค์ (Contrapposto) โดยพระเพลาข้างซ้ายรับน้ำหนักของพระสรีระ พระวรกายบิดเอี้ยวเล็กน้อย รายละเอียดของพระพักตร์ รอยยับของพระภูษาทรง ตลอดจนตราดาราและเครื่องประดับมาความเหมือนจริงมาก ปั้นเมื่อ คริสตศักราช ๑๘๖๓ ตรงกับพุทธศักราช ๒๔๐๖ ที่กรุงปารีส แล้วส่งเข้ามาถวายทอดพระเนตร แต่ไม่ทรงโปรดเพราะไม่เหมือนพระองค์เพราะประติมากรเห็นเพียงแต่พระบรมฉายาลักษณ์จึงได้ปั้นหล่อพระวรกายผิดส่วนไปจากความเป็นจริง แม้แต่เครื่องราชอิสริยาภรณ์ซึ่งควรเป็นตราดาราไอราพตซึ่งไม่มีสายสะพายนั้น ก็ทำเป็นสายสะพายห้อยดวงตราเลจอง ดอนเนอร์ (Legion d’Honneur) ของฝรั่งเศส จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ช่างไทยทดลองปั้นถวาย ช่างไทยผู้นี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เข้าพระทัยว่า อาจเป็นหลวงเทพรจนา (พลับ) ซึ่งภายหลังได้เป็นพระยาจินดารังสรรค์ ถึงแม้ว่าหลวงเทพรจนายังไม่เคยปั้นรูปเหมือนบุคคลสำคัญ แต่เนื่องจากมีความสามารถในการปั้นรูปช้างและงานเบ็ดเตล็ดอื่นๆได้เหมือนจริง จึงได้รับมอบหมายให้ทดลองปั้นพระบรมรูปโดยยึดคติใหม่เป็นแบบตะวันตก การครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นแบบ โดยทรงแต่งพระองค์ตามรูปแบบที่ซาตรูสปั้นขึ้นมา จึงถือได้ว่าเป็นการปั้นพระบรมรูปมหากษัตริย์ไทยที่ยังดำรงพระชนม์อยู่เป็นครั้งแรกของไทย

พระบรมรูปองค์นี้อยู่ในพระราชอิริยาบถยืนตรง ทรงฉลองพระองค์เสื้อเยียรบับ ทรงพระภูษาโจงขอบเชิง ทรงพระมาลาทรงหม้อตาล ทรงสายสะพายเลจองดอนเนอร์ของฝรั่งเศส ทรงฉลองพระบาท พระหัตถ์ขวาทรงจับพระแสงดาบหัตถ์นารายณ์ ทอดปลายพระแสงดาบลงพื้น พระหัตถ์ซ้ายทรงถือหนังสือ ลักษณะพระบรมรูปมีความเหมือนที่พระพักตร์และพระวรกายซึ่งไม่อ้วนท้วนจนมีกล้ามเนื้อเป็นฝรั่งเหมือนอย่างผลงานของซาตรูส

ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรแล้วก็ทรงโปรด เพราะหลวงเทพรจนาได้แสดงถึงฝีมือในการปั้นพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยการผสมผสานลักษณะรูปเหมือนบุคคลตามคติตะวันตกกับการยึดถือความเกลี้ยงเกลาและความสวยงามเรียบง่ายตามคติอุดมคติไทยโบราณเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ยังได้ลบล้างความเชื่อเดิมที่ห้ามจำลองรูปเหมือนบุคคลขณะมีชีวิตอยู่ เพราะเกรงว่าจะเป็นการบั่นทอนชีวิตให้สั้นลง อย่างไรก็ตามมิได้มีการหล่อพระบรมรูปองค์นี้ เพราะมีผู้แย้งว่าเป็นเรื่องอัปมงคลที่จะนำพระบรมรูปหุ่นขี้ผึ้งสุมไฟหลอมให้ละลายจึงได้แต่เพียงหล่อด้วยปูนปลาสเตอร์และทาสีแทน แล้วอัญเชิญไปเก็บไว้ในหอเสถียรธรรมปริตร ต่อมาเมื่อหอเสถียรธรรมปริตรรื้อลง จึงย้ายไปเก็บไว้ที่หอราชพงษานุสรณ์ในรัชกาลที่ ๕ ถึงรัชกาลที่ ๗ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ซึ่งดำรงตำแหน่งเสนาบดีรกระทรวงมหาดไทย ขอพระราชทานไปประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวชยันตวิเชียรปราสาท ในพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี ตามพระราชดำรัสแนะนำของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๗๐

ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๓ อสุนิบาตต้องพระที่นั่งองค์นี้ แม้มิได้ต้องตรงถึงกับทำลายพระที่นั่งก็ดี แต่ความสะเทือนทำให้พระกรของพระบรมรูปชำรุด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบันได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ซ่อมแซมพระที่นั่งและพระบรมรูปให้คืนดีดังเดิม

ถึง พุทธศักราช ๒๕๐๕ บรรดาพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่าน่าจะคิดหล่อพระบรมรูปด้วยโลหะให้เป็นการถาวรเสียทีเดียว จึงได้นำความกราบบังคมทูลเจ้านายชั้นพระบรมวงศ์ ก็ทรงดำริเห็นชอบ ต่างก็ทรงประทานทุนทรัพย์ช่วยเหลือ รวบรวมเงินได้ ๕๖,๗๓๓.๖๓ จึงได้ดำเนินการให้กรมศิลปากรหล่อพระบรมรูปดังกล่าวด้วยโลหะ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระบรมรูปหล่อโลหะนั้นไปประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวชยันตวิเชียรปราสาท เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๐๕

ต่อมาสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่พระสาสนโสภณ) ทรงทราบเรื่อง พระบรมรูปองค์เดิมยังคงอยู่ที่กรมศิลปากร ทรงพระดำริว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็เสด็จประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นเวลานาน ควรที่จักได้มีพระบรมรูปประดิษฐานไว้ที่วัดนี้ด้วยเช่นกัน จึงนำพระดำริปรึกษาผู้เกี่ยวข้องหลายท่านมีพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เป็นต้น และต่อมาความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราช
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวหล่อโลหะพุทธศักราช ๒๕๐๘ อัฐเชิญพระบรมรูปหล่อโลหะรัชกาลที่ ๔ ขึ้นประดิษฐาน ณ ซุ้มปรางค์ บนทักษิณชั้นที่ ๒ ของพระเจดีย์ใหญ่ด้านทิศตะวันออก พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวนี้ วัดบวรนิเวศได้ดำเนินการให้กรมศิลปากรจำลองจากพระบรมรูปองค์เดิม ซึ่งประดิษฐานอยู่ ณ ตำหนักเพ็ชร ด้วยทุนบริจาคของ หม่อมเจ้า จงจิตรถนอม ดิศกุล นับเป็นพระบรมรูปจำลององค์ที่ ๒พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า องค์ต้นแบบซึ่งประดิษฐาน ณ ตำหนักเพ็ชรนี้ เป็นพระบรมรูปที่มีความสำคัญมากเพราะเหตุว่าเป็นพระบรมรูปของพระมหากษัตริย์ไทยรูปแรกที่สร้างขึ้นในขณะที่พระองค์ยังทรงพระชนม์ชีพอยู่ และยังเป็นต้นแบบของพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดร โดย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประดิษฐวรการ อธิบดีกรมช่างสิบหมู่ ทรงเป็นผู้อำนวยการปั้นและหล่อ ในพุทธศักราช ๒๔๑๔ประวัติความเป็นของพระบรมรูปซึ่งประดิษฐาน ณ ตำหนักเพ็ชร เนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์จะให้หล่อพระบรมรูปไปตอบถวายพระเจ้านโปเลียนที่ ๓ แห่งประเทศฝรั่งเศส เวลานั้นยังไม่มีช่างไทยที่มีฝีมือถึงขนาด จึงพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์ออกไปให้ช่างฝรั่งหล่อพระบรมรูปขึ้น ช่างผู้นี้คือ เอมิล ฟรังซัว ชาตรูส (Emile Francois Chatrousse) ประติมากรชาวฝรั่งเศส ลูกศิษย์ของ ฟรังซัว รูด(Francois Rude) และดาเบล เดอ ปูจอล (d’Abel de Pujol) ศิลปินได้จำลองหุ่นพระบรมรูปด้วยปูนปลาสเตอร์สูงตลอดพระองค์รวมฐานด้วย ๕๙ เซนติเมตร ทาบรอนซ์ฉลองพระองค์เปิดพระอุระ ทรงพระภูษาโจง และทรงพระมาลาสก็อต เหมือนพระบรมฉายาลักษณ์ที่ฉายด้วยกันกับสมเด็จพระเทพศิรินทรามาตย์ พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๔ พระบรมรูปทรงยืนในท่าตริภังค์ (Contrapposto) โดยพระเพลาข้างซ้ายรับน้ำหนักของพระสรีระ พระวรกายบิดเอี้ยวเล็กน้อย รายละเอียดของพระพักตร์ รอยยับของพระภูษาทรง ตลอดจนตราดาราและเครื่องประดับมาความเหมือนจริงมาก ปั้นเมื่อ คริสตศักราช ๑๘๖๓ ตรงกับพุทธศักราช ๒๔๐๖ ที่กรุงปารีส แล้วส่งเข้ามาถวายทอดพระเนตร แต่ไม่ทรงโปรดเพราะไม่เหมือนพระองค์เพราะประติมากรเห็นเพียงแต่พระบรมฉายาลักษณ์จึงได้ปั้นหล่อพระวรกายผิดส่วนไปจากความเป็นจริง แม้แต่เครื่องราชอิสริยาภรณ์ซึ่งควรเป็นตราดาราไอราพตซึ่งไม่มีสายสะพายนั้น ก็ทำเป็นสายสะพายห้อยดวงตราเลจอง ดอนเนอร์ (Legion d’Honneur) ของฝรั่งเศส จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ช่างไทยทดลองปั้นถวาย ช่างไทยผู้นี้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ เข้าพระทัยว่า อาจเป็นหลวงเทพรจนา (พลับ) ซึ่งภายหลังได้เป็นพระยาจินดารังสรรค์ ถึงแม้ว่าหลวงเทพรจนายังไม่เคยปั้นรูปเหมือนบุคคลสำคัญ แต่เนื่องจากมีความสามารถในการปั้นรูปช้างและงานเบ็ดเตล็ดอื่นๆได้เหมือนจริง จึงได้รับมอบหมายให้ทดลองปั้นพระบรมรูปโดยยึดคติใหม่เป็นแบบตะวันตก การครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นแบบ โดยทรงแต่งพระองค์ตามรูปแบบที่ซาตรูสปั้นขึ้นมา จึงถือได้ว่าเป็นการปั้นพระบรมรูปมหากษัตริย์ไทยที่ยังดำรงพระชนม์อยู่เป็นครั้งแรกของไทยพระบรมรูปองค์นี้อยู่ในพระราชอิริยาบถยืนตรง ทรงฉลองพระองค์เสื้อเยียรบับ ทรงพระภูษาโจงขอบเชิง ทรงพระมาลาทรงหม้อตาล ทรงสายสะพายเลจองดอนเนอร์ของฝรั่งเศส ทรงฉลองพระบาท พระหัตถ์ขวาทรงจับพระแสงดาบหัตถ์นารายณ์ ทอดปลายพระแสงดาบลงพื้น พระหัตถ์ซ้ายทรงถือหนังสือ ลักษณะพระบรมรูปมีความเหมือนที่พระพักตร์และพระวรกายซึ่งไม่อ้วนท้วนจนมีกล้ามเนื้อเป็นฝรั่งเหมือนอย่างผลงานของซาตรูสครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทอดพระเนตรแล้วก็ทรงโปรด เพราะหลวงเทพรจนาได้แสดงถึงฝีมือในการปั้นพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยการผสมผสานลักษณะรูปเหมือนบุคคลตามคติตะวันตกกับการยึดถือความเกลี้ยงเกลาและความสวยงามเรียบง่ายตามคติอุดมคติไทยโบราณเข้าด้วยกันได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ยังได้ลบล้างความเชื่อเดิมที่ห้ามจำลองรูปเหมือนบุคคลขณะมีชีวิตอยู่ เพราะเกรงว่าจะเป็นการบั่นทอนชีวิตให้สั้นลง อย่างไรก็ตามมิได้มีการหล่อพระบรมรูปองค์นี้ เพราะมีผู้แย้งว่าเป็นเรื่องอัปมงคลที่จะนำพระบรมรูปหุ่นขี้ผึ้งสุมไฟหลอมให้ละลายจึงได้แต่เพียงหล่อด้วยปูนปลาสเตอร์และทาสีแทน แล้วอัญเชิญไปเก็บไว้ในหอเสถียรธรรมปริตร ต่อมาเมื่อหอเสถียรธรรมปริตรรื้อลง จึงย้ายไปเก็บไว้ที่หอราชพงษานุสรณ์ในรัชกาลที่ ๕ ถึงรัชกาลที่ ๗ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ซึ่งดำรงตำแหน่งเสนาบดีรกระทรวงมหาดไทย ขอพระราชทานไปประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวชยันตวิเชียรปราสาท ในพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี ตามพระราชดำรัสแนะนำของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เมื่อ พุทธศักราช ๒๔๗๐
ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๓ อสุนิบาตต้องพระที่นั่งองค์นี้ แม้มิได้ต้องตรงถึงกับทำลายพระที่นั่งก็ดี แต่ความสะเทือนทำให้พระกรของพระบรมรูปชำรุด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบันได้พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ให้ซ่อมแซมพระที่นั่งและพระบรมรูปให้คืนดีดังเดิม

ถึง พุทธศักราช ๒๕๐๕ บรรดาพระราชนัดดาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นว่าน่าจะคิดหล่อพระบรมรูปด้วยโลหะให้เป็นการถาวรเสียทีเดียว จึงได้นำความกราบบังคมทูลเจ้านายชั้นพระบรมวงศ์ ก็ทรงดำริเห็นชอบ ต่างก็ทรงประทานทุนทรัพย์ช่วยเหลือ รวบรวมเงินได้ ๕๖,๗๓๓.๖๓ จึงได้ดำเนินการให้กรมศิลปากรหล่อพระบรมรูปดังกล่าวด้วยโลหะ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระบรมรูปหล่อโลหะนั้นไปประดิษฐานไว้ ณ พระที่นั่งเวชยันตวิเชียรปราสาท เมื่อวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๐๕

ต่อมาสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่พระสาสนโสภณ) ทรงทราบเรื่อง พระบรมรูปองค์เดิมยังคงอยู่ที่กรมศิลปากร ทรงพระดำริว่าพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ก็เสด็จประทับ ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นเวลานาน ควรที่จักได้มีพระบรมรูปประดิษฐานไว้ที่วัดนี้ด้วยเช่นกัน จึงนำพระดำริปรึกษาผู้เกี่ยวข้องหลายท่านมีพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร เป็นต้น และต่อมาความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราช
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าขณะนี้คุณหัวหล่อโลหะ
พุทธศักราช 2508 อัฐเชิญพระบรมรูปหล่อโลหะรัชกาลที่ 4 ขึ้นประดิษฐาน ณ ซุ้มปรางค์บนทักษิณชั้น ที่ 2 ของที่คุณพระเจดีย์ใหญ่ด้านทิศตะวันออกพระบรม รูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าขณะนี้คุณหัวนี้วัดบวรนิเวศ ได้ดำเนินหัวเรื่อง: การให้ผู้แต่ง: กรมศิลปากรจำลองจากเนชั่ พระบรมรูปองค์เดิมซึ่งประดิษฐานขณะนี้ ณ ตำหนักเพ็ชรด้วยทุนบริจาคของหม่อมเจ้าจงจิตรถนอมดิศกุลนับเป็นพระบรมรูปจำลององค์ที่ 2

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าองค์ต้นแบบซึ่ง ประดิษฐาน ณ ตำหนักเพ็ ชรนี้เป็นพระบรมรูปที่มีความสามารถ สำคัญมากเพราะเหตุว่าได้เป็นพระบรมรูปของที่คุณพระมหากษัตริย์ไทย English รูปแรกที่สร้างขึ้นในห้างหุ้นส่วนจำกัดขณะที่พระองค์ยังคุณทรงพระชนม์ชีพขณะนี้และยังเป็นต้นแบบของพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าขณะนี้คุณหัวซึ่งประดิษฐาน ในห้างหุ้นส่วนจำกัดปราสาทที่คุณพระเทพบิดรโดยที่คุณพระวร วงศ์เพลงเธอพระองค์เจ้าประดิษฐวรหัวเรื่อง: การอธิบดีผู้แต่ง: กรมช่างสิบหมู่คุณทรงเป็นคุณผู้อำนวยหัวเรื่อง: การคุณปั้นและหล่อในห้างหุ้นส่วนจำกัดพุทธศักราช 2414

ประวัติความสามารถเป็นของพระบรมรูปซึ่งประดิษฐาน ณ ตำหนักเพ็ชรเนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าขณะนี้คุณหัวมี ที่คุณพระราชประสงค์จะให้หล่อพระบรมรูป ไปตอบถวายพระเจ้าหนังสือนโปเลียนที่ 3 แห่งออกประเทศฝรั่งเศสเวลานั้นยังไม่มีช่าง ไทย English ที่มีฝีมือถึงขนาดจึงพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์ออกไปให้ช่างฝรั่งหล่อพระบรมรูปขึ้นช่างคุณผู้นี้คือคุณเอมิล ฟรังซัวชาตรูส (เอมิFrançois Chatrousse) ประติมากรชาวฝรั่งเศสลูกศิษย์ของฟ รังซัวรูด (Francois หยาบ) และดาเบลเดหนังสืออปูจอระบบ ล (D, อาเบลเดอ Pujol) ศิลปินได้จำลองหุ่นพระบรมรูป ด้วยปูนปลาสเตอร์สูงตลอดพระองค์รวมฐานด้วย 59 เซนติเมตรทาบรอนซ์ฉลองพระองค์เปิดที่คุณพระอุระคุณทรง ที่คุณพระภูษาโจงและคุณทรงที่คุณพระมาลาสก็หนังสืออตเหมือนพระบรมฉายาลักษณ์ที่ฉายด้วยกันกับสมเด็จที่คุณพระเทพศิรินทรามาตย์พระบรมราชินีในห้างหุ้นส่วนจำกัดรัชกาล ที่ 4 พระบรมรูปคุณทรงยืนในห้างหุ้นส่วนจำกัดท่าตริภั งค์ (Contrapposto) โดยพระเพลาข้างซ้ายรับน้ำหนักของที่คุณพระ สรีระที่คุณพระวรกายบิดเอี้ยวเล็กน้อยรายละเอียดของที่คุณพระพักตร์รอยยับของที่คุณพระภูษาคุณทรงตลอดจนตราดาราและเครื่องประดับมาความสามารถเหมือนจริง มากปั้นเมื่อคริสตศักราช 1863 ตรงกับพุทธศักราช 2406 ที่กรุงปารีสทั้งหมดแล้วส่งเข้ามาถวาย ทอดพระเนตร แต่ไม่คุณทรงโปรดเพราะไม่เหมือนพระองค์เพราะประติมากรเห็นเพียง แต่พระบรมฉายาลักษณ์จึงได้คุณปั้นหล่อที่คุณพระวรกายผิดส่วนไปจากเนชั่ความสามารถเป็น แม้แต่เครื่องราชอิสริยาภรณ์จริงซึ่งควรเป็นตราดารา ไอราพตซึ่งไม่มีสายสะพายนั้นก็ทำเป็นสายสะพายห้อยดวงตราเลอร่อย ๆ ดอนเนอร์ (Legion d'Honneur) ฝรั่งเศสจึงของคุณทรงที่คุณพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ช่างไทย English ทดลองคุณปั้นถวายช่างไทย English คุณผู้นี้สมเด็จพระเจ้า บรมวงศ์เพลงเธอเจ้าฟ้าผู้แต่ง: กรมพระยาคุณนริศรา นุวัดติวงศ์เข้าพระทัยว่าได้อาจเป็นหลวงเทพรจนา (พลับ) ซึ่งภายหลังได้เป็นพระยาจินดารังสรรค์ถึง แม้ว่าหลวงเทพรจนายังไม่เคยคุณปั้นรูปเหมือนบุคคลสำคัญ แต่เนื่องจากมีความสามารถด้านในห้างหุ้นส่วนจำกัดหัวเรื่อง: การ คุณปั้นรูปช้างและงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ได้เหมือนจริงจึงได้รับมอบหมายให้ทดลองคุณปั้นพระบรมรูปโดยยึดคติใหม่เป็นแบบตะวันตกหัวเรื่อง: การครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าขณะนี้คุณหัวคุณทรงเป็นแบบโดยคุณทรงแต่งพระองค์ตามรูปแบบที่ซาตรูส คุณปั้นขึ้นมาจึงถือได้ว่าได้เป็นการคุณปั้นพระบรมรูปมหากษัตริย์ไทย English ที่ยังดำรงพระชนม์ขณะนี้เป็นครั้งแรกของไทย English

พระบรมรูปองค์นี้ขณะนี้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดที่คุณพระราชอิริยาบถยืนตรงคุณทรงฉลองพระองค์เสื้อเยียรบับคุณทรงที่คุณพระภูษาโจงขอบเชิงคุณทรงที่คุณพระมาลาทรงหม้อตาล คุณทรงสายสะพายเลอร่อย ๆ ดอนเนอร์ของ ฝรั่งเศสคุณทรงฉลองพระบาทพระหัตถ์ขวาคุณทรงจับที่คุณพระแสงดาบหัตถ์นารายณ์ทอดปลายวุฒิการที่คุณพระแสงดาบลงพื้นพระหัตถ์ซ้ายคุณทรงถือหนังสือลักษณะพระบรมรูปมีความสามารถเหมือนที่ที่คุณพระพักตร์และที่คุณพระวรกายซึ่งไม่อ้วนท้วนจนมีกล้ามเนื้อเป็นฝรั่ง เหมือนอย่างผลงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายขอ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: